top of page
TNCPTH.png

TNCP 2022

การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยทางจิตวิทยาระดับชาติ ครั้งที่ 7 ประจำปี 2565

"ปรับ แปร เปลี่ยนผ่าน Moving Forward through Challenging Times"

ศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม 2565

โรงแรมบางกอกชฎา

กรุงเทพมหานคร

TNCP2022ProceedingsCover.png

ปก

กองบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ

วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ

สารบัญ

บทความ
 

Facebook and Depression in COVID-19 Pandemic: The Role of Time Spent and Information Overload and Depressive Symptoms

Vidchuda Taechajinda and Yokfah Isaranon

1-10

ผลของละครในการศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในวัยรุ่นตอนต้น

ฐิติวัลย์ กล้าตลุมบอน และ ชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย

11-22

ทำสิ่งใหม่ ๆ ร่วมกันให้ความสัมพันธ์ไม่จืดจาง: อิทธิพลทางบวกของแรงจูงใจในการขยายตัวตนต่อความน่าตื่นเต้นของกิจกรรมคู่รัก

ชนาฎา เคหะทัต และ ภัคนันท์ จิตต์ธรรม

23-37

ประสบการณ์ทางจิตใจของนักเคลื่อนไหวรุ่นใหม่: ผลการวิจัยเบื้องต้น

ณัชฌา ลงทอง และ ณัฐสุดา เต้พันธ์

38-48

การศึกษาความร่วมมือในทีมของผู้ใหญ่วัยทำงานในศูนย์บริการสาธารณสุข

อมลวรรณ อิ่มอาบ, ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ, และ ชาญ รัตนะพิสิฐ

49-57

การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงอย่างมีสติในการบริโภคอาหารเสริมความงามในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน

นัฐชา อิบรอเฮม และ ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ

58-70

ความสัมพันธ์ระหว่างความเพียรกับการรับรู้ความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับองค์การ: อิทธิพลกำกับของรูปแบบองค์การและความฉลาดทางวัฒนธรรม

นลิน มนัสไพบูลย์ และ เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช

71-83

อิทธิพลของปฏิสัมพันธ์สามทางระหว่างข้อเรียกร้องในงานที่ท้าทาย ข้อเรียกร้องในงานที่เป็นอุปสรรค และความสามารถในการฟื้นพลังต่อความเหนื่อยหน่าย

สุชาดา ศรีจำปา และ วิทสินี บวรอัศวกุล

84-97

ความสัมพันธ์ระหว่างภาระงานต่อความเหนื่อยล้าในการทำงาน โดยมีงานที่มีความหมายเป็นตัวแปรกำกับ ในพนักงานรับฝากพัสดุ องค์การขนส่งและโลจิสติกส์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

พรพิเศษ ศศิวิมล และ จุฑาทิพย์ วิวัฒนาพันธุวงศ์

98-112

การพัฒนามาตรวัดการรับเอามุมมองทางลบต่อการรักเพศเดียวกันมาเป็นส่วนหนึ่งของตน (ฉบับภาษาไทย)

ณัชชา ศรีพิบูลพานิช และ กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ

113-125

ปัจจัยภายในบุคคลที่สัมพันธ์กับการแสดงบทบาทผู้ปกป้องหรือผู้สังเกตการณ์ในเหตุการณ์รังแกในโรงเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ญาดา หิรัญยะนันท์ และ จิรภัทร รวีภัทรกุล

126-137

ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบเสริมอำนาจกับความสามารถในการปรับตัวด้านอาชีพโดยมีความงอกงามในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน

กฤตยา จรัสพรธัญญา, จุฑาทิพย์ วิวัฒนาพันธุวงศ์, และ เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช

138-148

อิทธิพลของความหลากหลายทางการรู้คิดต่อพฤติกรรมการแบ่งปันความรู้โดยศึกษาเส้นทางคู่ขนานของความขัดแย้ง

ชนาพร ประพันธ์กาญจน์ และ เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช

149-162

ความสัมพันธ์ระหว่างสติ การยอมรับ ความเข้าใจในไตรลักษณ์ และความสามารถในการฟื้นพลังของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เตชภณ ภูพุฒ และ สมบุญ จารุเกษมทวี

163-174

ผลการใช้สื่อสนับสนุนการเรียนรู้ผ่านการมองรูปภาพและการตรวจสอบตนเองที่มีต่อพฤติกรรมการล้างมือที่ถูกสุขลักษณะของเด็กที่มีภาวะออทิซึม อายุ 11 ขวบ

จารุวรรณ สิมศิริวัฒน์ และ ภัทรพร แจ่มใส

175-185

การเปรียบเทียบการจัดการกับความเปลี่ยนแปลงในองค์การและความผูกพันในอาชีพของครูโรงเรียนรัฐบาลที่มีระดับการฝังตรึงในงานและประเภทของการจ้างงานที่แตกต่างกัน

วาธิณี ชุมพรหม และ ภาสกร เตวิชพงศ์

186-197

ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการเสพติดซ้ำของผู้ที่เสพติดซ้ำ สำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงราย

สุกัญญา กำแพงแก้ว, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และ ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ

198-209

การพัฒนาตนเองของพนักงานธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ แจ้งวัฒนะ

นันท์นภัส หน่อคำ และ ธีรพัฒน์ วงศ์คุ้มสิน

210-220

ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบความคิดแบบเติบโตและการผูกใจมั่นในการเรียนรู้ออนไลน์โดยมีการรับรู้ความสามารถเป็นตัวแปรส่งผ่าน

วิสสุตา ภักดีกุล และ ประพิมพา จรัลรัตนกุล

221-230

ผลของโปรแกรมกระบวนการกลุ่มเสริมสร้างความงอกงามภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชโรคความผิดปกติทางอารมณ์วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 

ภัทราภรณ์ ธีระการณ์ และ สุพัทธ แสนแจ่มใส

231-243

การพัฒนากิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหารในวัยเด็กตอนต้น

ชลทิชา ธารานิตย์ และ วิธัญญา วัณโณ

244-254

A Preliminary Qualitative Study on the Object Relationships of Male Sex Offenders

Kawin Konthong, Arunya Tuicomepee, and Chalalai Taesilapasathit

255-269

Would You Let Others Know When Things Go Right? A Replication of Positive Events Disclosure in Thai Culture

Thanakorn Angkasirisan and Kullaya Pisitsungkagarn

270-280

ความสัมพันธ์เชิงทำนายของการเห็นคุณค่าในตนเองและแรงจูงใจในการสื่อสารออนไลน์กับความเหงาในนิสิตนักศึกษาหญิงที่ไม่มีความสัมพันธ์เชิงโรแมนติกและเรียนด้วยรูปแบบออนไลน์

ชวนฟ้าชม นาวาบุญนิยม และ กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ

281-294

อิทธิพลส่งผ่านของความปลอดภัยทางจิตใจ และอิทธิพลกำกับของความกล้าหาญของผู้นำในความสัมพันธ์ระหว่างความถ่อมตนของผู้นำกับพฤติกรรมแสดงความเห็นและความเงียบของพนักงานในบริษัทเอกชนในประเทศไทย

สริตา วรวิทย์อุดมสุข และ เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช

295-306

A Moderating Role of Polyculturalism on the Relationship Between Essentialism and the Willingness to Engage in Intergroup Contact with People from Myanmar

Piraorn Suvanbenjakule and Thipnapa Huansuriya

307-317

การศึกษาความฉลาดทางอารมณ์และการเตรียมพร้อมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในยุคพลิกผัน

จิตราภรณ์ บุญถนอม และ นันท์ปภัสร์ อ่ําบริสุทธิ์

318-330

Trigger Warnings: อิทธิพลของรูปแบบการเตือนเนื้อหาที่ส่งผลต่ออารมณ์เชิงลบ

วริศรา เตชะวิริยะกุล, ปิยะรัตน์ สุวรรณนุพงศ์, พัชรา จักตรี, บุรชัย อัศวทวีบุญ, และ วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ

331-340

อิทธิพลของการฟื้นคืนกลับ การเห็นคุณค่าในตนเอง และการจัดการตนเองที่ส่งผลต่อความผาสุกของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ชุติมณฑน์ เหมินทสูตร, มนัสชนันท์ เหลือธิ, บัวบูชา นาคลักษณ์, จันทกานต์ สามกรม, สริดา ดอนตุ้มไพร, คุณิตา มีภูครั่ง, เจษฎากร ขยายแก้ว, นวินดา กุญชะโมรินทร์, มุกตนันท์ ปลอดจินดา, รชต เนตรวงษ์, อุบลรัตน์ สร้อยสังวาลย์, ศยามล เอกะกุลานันต์, และ สายทิพย์ เหล่าทองมีสกุล

341-349

การทบทวนวรรณกรรมถึงกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมสําหรับความเหงาในวัยรุ่นตอนปลาย: การนําเสนอแผนการบําบัด

ณัฐพร ตรีเจริญวิวัฒน์ และ กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ

350-368

การพัฒนาโปรแกรมการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะสําหรับผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น

ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์ และ ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ

369-377

การศึกษาประสบการณ์การพัฒนาอัตลักษณ์แห่งตนภายใต้ทัศนคติทางลบจากครอบครัว: กรณีศึกษาผู้ใหญ่ตอนต้น

วิภาภัค แก้วอิ่ม, สุพัทธ แสนแจ่มใส, และ ธีระชน พลโยธา

378-388

การพัฒนาแบบวัดการปรับตัวในการทํางานของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นซีในเขตกรุงเทพมหานคร

ผาภูมิ ศรีทับทิม และ ชาญ รัตนะพิสิฐ

389-397

อิทธิพลของพฤติกรรมการติดโซเชียลมีเดียที่มีต่อความวิตกกังวลทางสังคมของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปิยภรณ์ กรวยทอง, กัญญ์วรา มานะทัศน์, ณัฐกานต์ พงศ์บริพัตร, พนมพร พุ่มจันทร์, เอื้ออนุช ถนอมวงษ์, และ สุชาดา สกลกิจรุ่งโรจน์

398-409

ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาวะทางจิตกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนิสิตจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กุลภัทร เปรมสุขใจ, ณัฐธิรา ปินตา, วิศรุต หมายเจริญศรี, พนมพร พุ่มจันทร์, เอื้ออนุช ถนอมวงษ์, และ สุชาดา สกลกิจรุ่งโรจน์

410-421

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงทํานายกับการเว้นระยะห่างทางสังคมของบุคคลที่มีต่อผู้ป่วยโรค COVID-19

พรนภัส เชิญประทีป และ กุลยา พิสิษฐ์สังฆการ

422-435

อิทธิพลของรสนิยมทางเพศและข้อมูลเชิงลบของผู้สมัครที่มีผลต่อการประเมินผู้สมัครในบริบทของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ชฎาวดี คําเคน, สมิดา อักษรานุเคราะห์, สุรกาญจน์ สาจันทร์, และ พัฒนกิจ ชอบทํากิจ

436-445

อิทธิพลของความรู้สึกโหยหาอดีตที่มีต่อเนื้อหาและคุณลักษณะของการคิดถึงอนาคตเชิงเหตุการณ์

รมัณยา นาคโสมกุล, รุจิรา น้ําใจตรง, จตุพร อมาตยกุล, และ วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ

446-456

อิทธิพลของการคุกคามเชิงเศรษฐกิจและการระบุตัวตนภายในกลุ่มที่มีต่อความตั้งใจในการบริจาคในบริบทระหว่างกลุ่ม

จรรยธรณ์ วิจิตรแสงรัตน์, ฐิติชญา ประชาสุข, พีระพัฒน์ ฤทธิญาณ, พัฒนกิจ ชอบทํากิจ, และ ทระวิณ ชาลีรักษ์ตระกูล

457-469

อิทธิพลของคําพูดให้กําลังใจและการตระหนักถึงความวิตกกังวลที่มีต่อความจําขณะทํางานและความเชื่อมั่นในตนเองภายใต้ความวิตกกังวลตามสถานการณ์

ธนพร ชัยศุภรัตน์, ปราบวิกฤต ชุรินทรพรรณ, รสริน จินศรีคง, และ ทระวิณ ชาลีรักษ์ตระกูล

470-486

ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจากครอบครัวด้านการวางแผนประกอบอาชีพในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง กับการวางแผนประกอบอาชีพในอนาคตในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ของนิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณรภร พันธุ์กาหลง, ฐิติกานต์ อนันตศาสน์, กิรณา เพ็ชรรุ่ง, จิตราภา ลีธนศักดิ์สกุล, ซาร่า มานวงค์, วสุ ธาราทรัพย์, ปองกมล สุรัตน์,รัก ชุณหกาญจน์, และธนรัตน์ ทรงสมบูรณ์

487-499

ผลของโปรแกรมการเล่นบําบัดของเด็กปฐมวัยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวในสถานสงเคราะห์

นันทวรรณ ศรีจันทร์ และ สุธาวัลย์ หาญขจรสุข

500-510

การอภิปรายกลุ่ม ทัศนคติสองมาตรฐานทางเพศ และประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์ของบุคคลเป้าหมายที่มีผลต่อการประเมินคุณลักษณะของบุคคลเป้าหมาย

พัทธนันท์ สุวรรณชัย, จิรัชญา พงศ์พัฒนหยก, เวน่า โคห์, และ พัฒนกิจ ชอบทํากิจ

511-522

อิทธิพลของการผสมผสานการทํางานและชีวิต การสนับสนุนทางสังคม และความยึดมั่นผูกพันในงานต่อความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงานในโรงแรมแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

กิตติญา รัตนสุวรรณ, กิตติยาพร ฟักอ่อน, วรรณภา มีสิบป์สม, ปัณณทัด แซ่เตี้ยว, ณัฐรัตน์ มณีรัตนรุ่งโรจน์, จักริน ฐิติสัจจะวงศ์, จิรวรรณ สุวรรณจิระ, ธัญวรัตม์ ศิริวรรณ, ปริยากร นิ่มดวง, ศยามล เอกะกุลานันต์, ทรรศนะ ใจชุ่มชื่น, ถวัลย์ เนียมทรัพย์, ศิรินภา จามรมาน, และ วรพจน์ สุทธิชัย

523-537

Working Alliance in Telepsychotherapy: The Roles of Mindfulness and Empathy on Working Alliance in Telemental Health Practitioners in Thailand

Phakorn Phanomsomboonsin, Nopthanan Kitimanasathian, and Nattasuda Taephant

538-548

อิทธิพลของการรับรู้ในฐานะบุคคลที่สามต่อความจําเหตุการณ์และ Hindsight Bias

ปพิชญา ภูพวก, วรกมล ตรงกมลธรรม, สหรัก พันธุ์พาณิชย์, วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ, และ ทระวิณ ชาลีรักษ์ตระกูล

549-558

The Relationship Between Attitude and Intentions to Seek Online Counseling via Videoconferencing in Thai Undergraduate Students

Sirada Tanthong, Nichakorn Tangbowornpichet, and Nattasuda Taephant

559-572

อิทธิพลของขนาดรูปร่างของตัวแบบและการใส่แฮชแท็กส่งเสริมมุมมองเชิงบวกต่อร่างกายที่มีผลต่อการเห็นคุณค่าในรูปร่างโดยมีการเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพเป็นตัวแปรร่วม

กุลนันท์ ลาภานันท์, ชนิกา เหลืองบริสุทธิ์, ชนิดาภา เผ่าไพสิฐศรีอนันต์, และ พัฒนกิจ ชอบทํากิจ

573-583

A Comparative Study Between Inmates and the General Population on Dark-Triad Personality: Narcissism, Machiavellianism, and Psychopathy

Pornapat Tirapairojana, Kaematin Light, Pornpitcha Khaosutham, and Apitchaya Chaiwutikornwanich

584-603

Updated 29-01-2566

bottom of page